ReadyPlanet.com


อยู่ด้วยปัญญาปัญหาไม่มี


 เวลาที่ผ่านไปนี้ไม่ได้ผ่านไปแต่เวลาเฉยๆ

แต่ทำตัวเราแต่ละคนให้ได้อายุเพีมขึ้น

การเพิ่มอายุก็คือการเพิ่มความแก่นั้นเอง

อายุมากก็แก่มาก อายุน้อยก็แก่น้อย

อายุเพิ่มที่ละนาที่  ชั่วโมง  วัน  เดือน  ปี  

แล้วก็ผ่านไปโดยลำดับ

ทำให้สี่งทั้งหลายเปลี่ยนแปลงไป

เพราะสี่งทั้งหลายมันขึ้นอยู่กับเวลา

นอกจากพระอรหันต์

พระอรหันต์ท่านอยู่เหืนอเวลา เวลาไม่มีพิษสงกับท่าน

ท่านเป็นผู้อยู่เหืนอสีงเหล่านั้น เรียกว่าอยู่เหนือเวลา

เหนือสถานที่  จิตของท่านอยู่เหืนอสี่งเหล่านั้น

เพราะท่านไม่ยึดมั่่นด้วยเรีองอะไรๆ

ทั้งหมดชีวิตท่านก็มีแต่ความสงบ

 

แต่พวกเราชาวบ้านนั้นยังขึ้นอยู่กับเวลา

 

ชีวิตยังเปลี่ยนแปลงไป  ใจก็พลอยไปยึดมั่นถือมั่น

 

จึงได้เป็นทุกข์จากการยึดถือ

 

ถ้าเราไม่ยึดไม่ถือมันก็ไม่ทุกข์  เหมือนเราไม่ถือของมันก็เบา

 

แบกไว้บนบ่ามันก็หนักบ่า ทูนไว้บนหัวก็หนักหัว

 

เอามือจับไว้ก็ยังหนักอยู่  ยังยึดอยู่ว่าเป็นของฉัน

 

มันก็ต้องพลอยเป็นทุกข์เรื่อยไป

 

แต่เมือใดเราปล่อยได้วางได้  เราก็สบาย

(พระพรหมมังคลาจารย์)ปัญญานันทภิกขุ



ผู้ตั้งกระทู้ sobiday (sobiday9-at-hotmail-dot-com) กระทู้ตั้งโดยสมาชิก โพสต์และแสดงความเห็นเฉพาะสมาชิกเท่านั้น :: วันที่ลงประกาศ 2011-05-21 20:20:27


[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (1547018)

เรี่มชีวิตใหม่ได้ความสุข 

๑.   ความสุขเกิดจากการมีทรัพย์

เมือคนเรามีความขยันมั่นเพียร

มีความตั่งใจที่จะทำงาน ให้เกิดความเจริญก้าวหน้า

และมีผลงานในการปฎิบัติหน้าที่ของตน

ก็จะทำให้มีหน้าที่การงานและรายได้สูงขึ้น

๒.    ความสุขจากการใช้ทรัพย์ิ

เงินทองนั้นไม่ได้หามาได้ง่ายเลย

หามาด้วยความเหนื่อยยากด้วยกันทุกคน

จะเกิดความภูิใจอีมเอิบว่า,,,,

                 ตนได้ใช้ทรัพย์ที่ได้มาด้วยความชอบธรรมนั้น                                                          

         นำไปใช้ทำประโยชน์  ทำกุศลผลบุญต่างๆ

และนำไปซื้อของใช้ที่จำเป็นต่อชีวิต

หรือสร้างบ้านเรือนที่อยู่อาศัยให้เป็นหลักฐานที่มั่นคง

แก่ชีวิตยีงขึ้นต่อไปเถิด

 

 

ผู้แสดงความคิดเห็น sobiday (sobiday9-at-hotmail-dot-com) ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-05-21 20:51:19


ความคิดเห็นที่ 2 (1547024)

๓.   ความสุขจากการไม่เป็นหนี้

การที่เราหาทรัพย์สินมาด้วยความเหืนอยยากลำบาก

จะต้องระมัดระวังรักษาทรัพย์มิให้สูญหายไป  

จะกระทำสีงใด......

ก็ต้องรู้จักแบ่งทรัพย์ให้ถูกต้อง  เป็น ๔  ประการ.

คือ,,,,,เพือตนเอง และครอบครัว ทำบุญทำกุศลและส่วนรวม

หนึ่งส่วนเพือธุระกิจการงาน  

สองส่วน เพือสะสมไว้เป็นทุนสำหรับชีวิตในอนาคต

อีกส่วนหนี่ง

ฉะนั้นเมือจะนำเงินมาลงทุนหรือดำเนินกิจการใดๆ

ก็ต้องคำนึงถึงหลัก๔ประการนี้

ถึงแม้ว่าจะเพลี่ยงพล้ำก็ไม่เกิดเป็นทกุข์

การทำธุระกิจเกินตัวหรือการใช้จ่ายเกินตัว

จะทำให้เกิด....เป็นหนี้.....ขึ้น

การเป็นหนี้น้ันนอกจากจะทำให้ชีวิตตัวเองไม่มีความสุขแล้ว

ยังทำให้ครอบครัวไม่มีความสุขด้วย

๔,   ความสุขเกิดจากการประพฤติไม่มีโทษ

ถ้าเรามีความพฤติสุจริต ไม่บกพร่องเสียหาย

ทำมาหากินในทางสุจริต ใครๆตติเตียนไม่ใด้

ทั้งกายวาจาและใจ  เราก็เกิดความสุขความภาพภูิมใจ

ผู้ที่มีความประสงค์จะมีความสุขยีงๆขึ้น

พระพุทธองค์ตัรสว่า.................................

ความสงบเป็นสุขอย่างยีง

คนมีจิตใจจสงบ  ไม่วุ่นวายกับสีงใดๆ

มีความตั่งใจและสมาธิแน่วแน่ดีในพระกรรมฐาน..

จะทำสีงที่ดีๆทั้งนั้น

และมีความตั่งใจที่จะทำงานของตนให้ดียีงขึ้น

ไม่ทำความชั่่ว  ไม่เบียดเบียนผู้อืน  ไม่ทำร้ายผู้อืน

และไม่อยากได้ของคนอืน  เลี้ยงชีวิตโดยชอบ

ก็จะทำให้ชีวิตนั้นมีความสุข  และความสงบเกิดขึ้น

ผู้แสดงความคิดเห็น sobiday (sobiday9-at-hotmail-dot-com) ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-05-21 21:30:58


ความคิดเห็นที่ 3 (1547036)

ขออนุโมทนาบุญด้วยค่ะ สาธุ

ผู้แสดงความคิดเห็น อ๋อย เพ็ญศิริ บุตรมนต์ (opensirio-at-hotmail-dot-com) ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-05-21 22:47:13


ความคิดเห็นที่ 4 (1548901)

ขออนุโมทนาบุญสาธุๆๆ

ผู้แสดงความคิดเห็น บุญภิบาล คงเขียว ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-05-29 09:12:02


ความคิดเห็นที่ 5 (1549544)

                       โมทนาสาธุ  กับธรรมะดีดีจาก

                             เจ้าของกระทู้ค่ะ

ผู้แสดงความคิดเห็น ธนพร (umph2005-at-hotmail-dot-com) ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-06-01 18:26:48


ความคิดเห็นที่ 6 (1549991)

อันสตินี้ สัมปชัญญะนี้

ก็สมมุติเป็นโชเฟอร์กำพวงมาลัย

มีสติคอยระมัดระวัง  กาย  วาจา  จิต  

อยู่เสมอๆ 

คอยระวังเรื่องต่างๆ  ระมัดระวังไปเรื่อยๆ

.........แต่ไม่ได้หมายความว่า..........

เราต้องเทียวประกาศ  ห้ามใครมาติชมเรา

ที่ว่าระวังนั้น  คือ  เมือมีเรื่องมากระทบให้รู้ทัน ในทันที่

เราจะห้ามจิตไม่ให้หวั่นไหวไปไม่ได้  แต่ให้ระวัง

ต้องควบคุมจิตด้วยสติให้ถี่ๆ กระชับสติสัมปชัญญะให้มันถีเข้ามา

จะได้ไม่หวั่นไหวกับคำพูดเสียดแสงใจต่างๆ

ถ้าจิตสงบมีเวลาพักผ่อนเต็มที่แล้ว

มันก็จะอยากรู้แจ้งเห็นจริงในสีงที่ควรรู้

สีงใดที่เรายังไม่รู้ก็ต้องกำหนดพิจารณา

เช่น...กำหนดพิจารณาทุกข์

เมือเห็นทุกก็เบือในทุกข์ของขันธ์๕

อันไม่เทียงแปรปรวน

อาการหวั่นไหวกันไปมานั่นแหละ

เรียกว่า....ทุกข์ลักษณะ

เมือจิตรู้อย่างนี้ก็จะไม่หวั่นไหว 

ไม่ยึดเอาของไม่เทียงมาเป็นทุกข์

ผู้แสดงความคิดเห็น sobiday (sobiday9-at-hotmail-dot-com) ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-06-03 15:51:36


ความคิดเห็นที่ 7 (1549992)

จิตตะ.....จิตตะ.....จิตตะ....(ตั่งใจทำ)

จิตเป็นกุศล

จิตเป็นนาย

จิตเป็นบ่าว

จิตเมตตา

จิตอภัย

จิตเป็นสุข

จิตไม่ทุกข์

จิตหาย

จิตสบาย

จิตไม่ชอบ

จิตไม่ทำ

จิตไม่นึก

ทุกอย่างเป็นที่จิต  เป็นกุศลกรรม

จิตละ  จิตเว้น  จิตไม่มีกรรม

จิตเป็นพันธุ์กรรม   จิตไม่มีขอบเขต

จิตเว้นชึ้งกรรม   นำพาความสุข 

ผู้แสดงความคิดเห็น sobiday (sobiday9-at-hotmail-dot-com) ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-06-03 16:04:35


ความคิดเห็นที่ 8 (1565089)

อนุโมทนา  สาธุ

ผู้แสดงความคิดเห็น รุ่งสุภารัตน์ รุ่งเรือง ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-08-21 12:51:08


ความคิดเห็นที่ 9 (1565101)

ขออนุโมทนาบุญสำหรับธรรมทานดี ๆ ของ

 คุณ โซบิเดย์ ด้วยค่ะ สาธุ สาธุ สาธุ ค่ะ

 หลวงพ่อจรัญ ฐตธมฺโม ท่านกล่าวไว้ว่า

" เวลา เป็นสิ่งเดียวในโลกที่ทุกคนได้รับเสมอกัน ไม่มีใครได้เปรียบหรือเสียเปรียบกันเลย   แต่ใครจะใช้เวลาแต่ละวินาทีอย่างมีค่าและคุ้มค่ากว่ากัน นี่แหละเป็นเรื่องที่น่าคิด"

ผู้แสดงความคิดเห็น น้องทราย (นางสาวลักขณา ศรประสิทธิ์) (lukkana_1234-at-windowslive-dot-com) ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-08-21 14:12:06


ความคิดเห็นที่ 10 (1565121)

โมทนาด้วยค่ะคุณโซบิเดย์

ทุกอย่างอยู่ที่จิตจริงๆค่ะ

ผู้แสดงความคิดเห็น กมลลักษณ์ โปษณกุล อ๊อด (aod5961-at-hotmail-dot-com) ตอบโดยสมาชิกวันที่ตอบ 2011-08-21 16:27:36



[1]


Copyright © 2010 All Rights Reserved.